ปัญญาทางธรรม
คือการมีสติรู้ว่า เรื่อง 4 เรื่อง คือ
1.กาย(ร่างกายของเรา)
2.เวทนา(ความสุข ทุกข์ เฉย)
3.จิต(ที่รวมกับเจตสิก ที่สำคัญคือความคิด)
4.และ อารมณ์ (พอใจ ไม่พอใจ เบือหน่าย ฟุ้งซ่าน และสงสัย)
ท้ง 4 ล้วน เข้ากฏของพระไตรลักษณ์ อย่างแน่นอน คือ เป็นทุกข์ทนอยู่ในสภาพเดิม ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปลงเสมอ และ เราไม่สามารถบังคับได้เลย(โดยสิ้นเชิง เพราะมันเป็นธรรมชาติ)
ท่าน มีสติรู้ไหมละว่า
1.ร่างกายแม้นั่งนิ่งๆ ไม่หายใจเพราะดิ่งลึกในฌาน ทั้งร่างยังต้องเดินทางไปในมิติของเวลา(มิติที่4 เมื่อ ร่างกายมี 3มิติ คือ กว้าง ยาว หนา)
2.เวทนา ความสุข ทุกข์ เฉย มันผ่านเข้ามา อาจอยู่ด้วย แป๊บ นึง หรือ ยาวนาน เดี๋ยว มันก็ ผ่านไป อีกแล้ว (จบไปอีกเวทนานึง)
เรื่องจิต และอารมณ์ ก็เป็นไปในทำนอง นี้ นี้ นี้ นี้
มีอะไรให้เรายึดว่าเป็นเรา ทั้งร่างกาย และใจนี้
เมื่อรู้แล้วด้วย ญาน (จิต ไม่ใช่สัญญาหรือ ความจำ หรือ ความคิดแล้ว) จะเกิด อาการเบือหน่าย คลายกำหนัด ความรักใคร่
ในกาย และใจ(กองขันธ์ ทั้ง 5 นี้ ที่มาประกอบกัน ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ)
ของเรา ไม่ใช่ไปเบื่อหน่าย ของคนอื่น เค้า